String
String จะเป็นการเก็บข้อมูลแบบตัวอักษร
การประกาศ string
String s ##ชื่อตัวแปรที่ต้องการใช้งาน## = "text"##ข้อความที่คุณต้องการ##
function ต่าง ๆ ใน string
.charAt()
จะเป็นการระบุตำแหน่งสมาชิกของ string โดย จะนับตัวอักษรตัวแรก มีค่า 0
.legth()
ใช้หาขนาดหรือความยาวของ string
.indexOf()
ใช้หาตำแหน่งของสมาชิกใน string
.lastIndexOf()
ใช้หาตำแหน่งของสมาชิกใน string ตัวสุดท้าย
+
ใช้ในการนำ string มาต่อกัน
+=
ใช้ในการนำ string มาต่อกันแล้วเก็บไว้ที่ตัวหน้า
.concat()
ใช้ในการนำ string มารวมกัน
.substring()
ใช้ในการหา string ย่อย
.replace()
เปลี่ยนแปลง string
.replaceAll()
เปลี่ยนแปลง string ด้วยคำที่เราใส่เข้าไป
.trim()
ทำให้ string เล็กลง โดยตัวส่วนที่ไม่จำเป็นออก
.toLowerCase()
เปลี่ยนตัวอักษรใน string ให้เป็นตัวพิมพ์เล็ก
.toUpperCase()
เปลี่ยนตัวอักษรใน string ให้เป็นตัวพิมพ์ใหญ่
วันพุธที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2550
จาวา | ครั้งที่ 7
Array
Array จะช่วยในการเก็บข้อมูลให้ง่ายขึ้นได้
เบื้องต้น array จะคล้ายการคิบแบบ matrix
ตัวอย่างคำสั่ง
public class array{
public static void main(String[]args){
Scanner a = new Scanner(System.in);
int [] num;
num = new int [16];
int total = 0;
for( int i = 0; i <16;>
System.out.print("Please input number: ");
num [i] = a.nextInt();
total = total + num[i] ;
}
for( int i = 0; i <>
System.out.println(num[i]);
}
System.out.println(total);
}
}
จากตัวอย่าง
เราจะป้อนข้อมูล 16 ตัวเข้าไปในระบบ
ระบบจะแสดงผลข้อมูลออกมา และทำการรวมข้อมูล
การใช้ loop
for( int i = n; i <>
n = ข้อมูลเริ่มต้น
m = ข้อมูลสุดท้าย
i++ เพิ่มลำดับข้อมูลทีละ 1
i-- ลบลำดับข้อมูลทีละ 1
Array จะช่วยในการเก็บข้อมูลให้ง่ายขึ้นได้
เบื้องต้น array จะคล้ายการคิบแบบ matrix
ตัวอย่างคำสั่ง
public class array{
public static void main(String[]args){
Scanner a = new Scanner(System.in);
int [] num;
num = new int [16];
int total = 0;
for( int i = 0; i <16;>
System.out.print("Please input number: ");
num [i] = a.nextInt();
total = total + num[i] ;
}
for( int i = 0; i <>
System.out.println(num[i]);
}
System.out.println(total);
}
}
จากตัวอย่าง
เราจะป้อนข้อมูล 16 ตัวเข้าไปในระบบ
ระบบจะแสดงผลข้อมูลออกมา และทำการรวมข้อมูล
การใช้ loop
for( int i = n; i <>
n = ข้อมูลเริ่มต้น
m = ข้อมูลสุดท้าย
i++ เพิ่มลำดับข้อมูลทีละ 1
i-- ลบลำดับข้อมูลทีละ 1
เขียนโดย
ธนัตถ์
วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550
จาวา | ครั้งที่ 6
การซ้อนเงื่อนไข
ในครั้งนี้ จะต่อจากครั้งที่แล้วเป็นการประกาศเงื่อนไข ซ้อนทับเงื่อนไข เพื่อตัดเป็นกรณีต่าง ๆ ละเอียดมากขึ้น
import java.util.*;
public class numberif {
public static void main(String args[]) {
Scanner a = new Scanner(System.in);
float x; System.out.println("Please input number");
x=a.nextFloat();
if (x==50)
System.out.println("The number = 50");
else
if (x>50)
System.out.println("The number > 50");
else
if (x<50)>
ในครั้งนี้ จะต่อจากครั้งที่แล้วเป็นการประกาศเงื่อนไข ซ้อนทับเงื่อนไข เพื่อตัดเป็นกรณีต่าง ๆ ละเอียดมากขึ้น
import java.util.*;
public class numberif {
public static void main(String args[]) {
Scanner a = new Scanner(System.in);
float x; System.out.println("Please input number");
x=a.nextFloat();
if (x==50)
System.out.println("The number = 50");
else
if (x>50)
System.out.println("The number > 50");
else
if (x<50)>
else
System.out.println("Error");
}
}
จากตัวอย่าง
ในเงื่อนไขแรก ถ้า ค่าที่ป้อน ตรงกับ 50 จะขึ้นว่า jackpot
จะมีรายละเอียดขึ้นมาในส่วนของการซ้อนเงื่อนไขขึ้นมา
ถ้า ค่าที่ป้อน มากกว่า 50 จะขึ้นบอกว่ามากกว่า 50 ถ้าน้อยกว่า จะขึ้น น้อยกว่า 50
เขียนโดย
ธนัตถ์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)