วันพุธที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2550

จาวา | ครั้งที่ 8

String

String จะเป็นการเก็บข้อมูลแบบตัวอักษร

การประกาศ string
String s ##ชื่อตัวแปรที่ต้องการใช้งาน## = "text"##ข้อความที่คุณต้องการ##



function ต่าง ๆ ใน string

.charAt()
จะเป็นการระบุตำแหน่งสมาชิกของ string โดย จะนับตัวอักษรตัวแรก มีค่า 0

.legth()
ใช้หาขนาดหรือความยาวของ string

.indexOf()
ใช้หาตำแหน่งของสมาชิกใน string

.lastIndexOf()
ใช้หาตำแหน่งของสมาชิกใน string ตัวสุดท้าย

+
ใช้ในการนำ string มาต่อกัน

+=
ใช้ในการนำ string มาต่อกันแล้วเก็บไว้ที่ตัวหน้า

.concat()
ใช้ในการนำ string มารวมกัน

.substring()
ใช้ในการหา string ย่อย

.replace()
เปลี่ยนแปลง string

.replaceAll()
เปลี่ยนแปลง string ด้วยคำที่เราใส่เข้าไป


.trim()
ทำให้ string เล็กลง โดยตัวส่วนที่ไม่จำเป็นออก

.toLowerCase()
เปลี่ยนตัวอักษรใน string ให้เป็นตัวพิมพ์เล็ก


.toUpperCase()
เปลี่ยนตัวอักษรใน string ให้เป็นตัวพิมพ์ใหญ่

จาวา | ครั้งที่ 7

Array

Array จะช่วยในการเก็บข้อมูลให้ง่ายขึ้นได้
เบื้องต้น array จะคล้ายการคิบแบบ matrix

ตัวอย่างคำสั่ง
public class array{

public static void main(String[]args){
Scanner a = new Scanner(System.in);

int [] num;
num = new int [16];

int total = 0;

for( int i = 0; i <16;>

System.out.print("Please input number: ");
num [i] = a.nextInt();
total = total + num[i] ;
}

for( int i = 0; i <>

System.out.println(num[i]);
}
System.out.println(total);

}
}

จากตัวอย่าง

เราจะป้อนข้อมูล 16 ตัวเข้าไปในระบบ
ระบบจะแสดงผลข้อมูลออกมา และทำการรวมข้อมูล

การใช้ loop

for( int i = n; i <>


n = ข้อมูลเริ่มต้น
m = ข้อมูลสุดท้าย
i++ เพิ่มลำดับข้อมูลทีละ 1
i-- ลบลำดับข้อมูลทีละ 1

วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550

จาวา | ครั้งที่ 6

การซ้อนเงื่อนไข



ในครั้งนี้ จะต่อจากครั้งที่แล้วเป็นการประกาศเงื่อนไข ซ้อนทับเงื่อนไข เพื่อตัดเป็นกรณีต่าง ๆ ละเอียดมากขึ้น



import java.util.*;


public class numberif {


public static void main(String args[]) {



Scanner a = new Scanner(System.in);



float x; System.out.println("Please input number");



x=a.nextFloat();



if (x==50)



System.out.println("The number = 50");



else



if (x>50)



System.out.println("The number > 50");



else



if (x<50)>

else


System.out.println("Error");


}


}


จากตัวอย่าง

ในเงื่อนไขแรก ถ้า ค่าที่ป้อน ตรงกับ 50 จะขึ้นว่า jackpot


จะมีรายละเอียดขึ้นมาในส่วนของการซ้อนเงื่อนไขขึ้นมา

ถ้า ค่าที่ป้อน มากกว่า 50 จะขึ้นบอกว่ามากกว่า 50 ถ้าน้อยกว่า จะขึ้น น้อยกว่า 50

วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2550

จาวา | ครั้งที่ 5

เงื่อนไข



เงื่อนไขต่าง ๆ ในจาวา

< น้อยกว่า

> มากกว่า

== เท่ากับ

<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ

>= มากกว่าหรือเท่ากับ

!= ไม่เท่ากับ



ตัวอย่างคำสั่ง



import java.util.*;


public class if {


public static void main(String args[]) {



Scanner a = new Scanner(System.in);



float x;



System.out.println("Please input number")



x=a.nextFloat();



if ##ประกาศเงื่อนไข## (x==120)



System.out.println("Jackpot");



else ##คำสั่งนอกเหนือจากเงื่อนไข##



System.out.println("Fail");



}

}



ผลที่ได้



ถ้าเราใส่ตัวเลขที่มีค่า เท่ากับ 120 (จากตัวอย่าง)

จะมีข้อความขึ้นว่า jackpot



แต่ถ้าเราใส่เลขไม่ตรงกับ 120

จะมีข้อความขึ้นว่า fail

จาวา | ครั้งที่ 4

การรับข้อมูลทางคีย์บอร์ด



ตัวอย่างคำสั่ง



import java.util.*; ##เรียกใช้...



public class board {



public static void main(String [] args) {



Scanner n = new Scanner(System.in); ##ประกาศตัวแปรเพื่อเก็บข้อมูลที่รับจากคีย์บอร์ด



System.out.print("score1= ");



float score1 = n.nextInt();



System.out.print("score2= ");



float score2 = n.nextInt();



System.out.print("score3= ");



float score3 = n.nextInt();



System.out.println("total score= " + ( score1 + score2 + score3 ));



System.out.println("average score= " + (( score1 + score2 + score3)/3 ));



}



}

จาวา | ครั้งที่ 3

ในตอนต้นชั่วโมง อาจารย์ได้เกริ่นถึงชนิดของข้อมูล
เช่น

bit, byte, integer, long, single, double ฯลฯ

โดยอาจารย์ได้พูดถึงว่า ทำไม เราไม่กำหนดชนิดของข้อมูลให้ใหญ่มาก ๆ เลยว่า

ถ้าข้อมูลที่เราใช้จริงเป็นแบบ integer แต่ เรากำหนดค่าแบบ long

ในช่วงแรกถ้าเราเขียนโปรแกรมระดับเล็ก ๆ จะยังไม่พบปัญหา
แต่เมื่อเราต้องเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ตัวแปรเยอะ ๆ

จาก integer สมมุติว่าใช้หน่วยความจำ 1 หน่วย
แต่เรากำหนดเป็น long ซึ่งอาจใช้หน่วยความจำ 40 หน่วย
จะทำให้ใช้หน่วยความจำในเครื่องได้ไม่คุ้มค่า

ตัวอย่างคำสั่ง

public class jjj {

public static void main(String [] args) {

System.out.println(args[0]##ระบบจะแสดงข้อมูลตัวที่ 1 ออกมา##) ;

System.out.println("score1= " + args[1])##ระบบจะแสดงข้อความ ตามด้วยข้อมูลตัวที่ 2 ออกมา## ;

System.out.println("score2= " + args[2]);

System.out.println("sum score= " + (Integer.parseInt(args[1]) ##จำทำการแปลข้อมูลตัวที่ 2 ให้กลายเป็นข้อมูลแบบตัวเลข (int)##+ Integer.parseInt(args[2])));

}

}

จาวา | ครั้งที่ 2

ในการเขียนโปรแกรมในสัปดาห์นี้ อาจารย์ชยการได้ให้ทดลองเขียนกันด้วยตัวเอง โดยศึกษาจากสื่อการสอนในบล็อคของอาจารย์

อาจารย์ได้ให้ชุดคำสั่งมาแต่มีช่องว่างไว้ ให้เติมชุดคำสั่งใ้ห้ถูกต้อง

public class lll {

public static void main(String [] args) {

System.out.println("Rectangle area = 1/2 * base * height");

System.out.println("Base = " + "10");

System.out.println("Heigh = " + "20");

System.out.println("Rectangle area = " + (1.0##ดูหมายเหตุ##/2 * 10 * 20));

}

}

*การคำนวนของจาวา ตัวอย่างในโจทย์จำคำนวนโดยการหาร ถ้าเราไม่ใส่ทศนิยมในการเขียนคำสั่ง จาวาจะถือว่า ไม่คิดทศนิยม และปัดทิ้ง เช่น ในตัวอย่าง 1/2 เมื่อแปลคำสั่งออกมาจะได้ 0 ถ้า 1.0/2 จะแปลคำสั่งออกมาได้ว่า 0.5

จาวา | ครั้งแรก: คำสั่ง Command Prompt

คำสั่งต่าง ๆ ใน Command Prompt เบื้องต้น



>cd ชื่อ folder

: ใช้สำหรับการเข้าไปใน folder



>md ชื่อ folder ที่ต้องการสร้าง

: ใช้สำหรับการสร้าง folder



>dir

: ใช้ในการเรียกดู files และ folders ใน directory ที่เรากำลังเรียกใช้งานอยู่

(มีพารามิเตอร์อื่น ๆ เช่น >dir/w



>cd..

: ใช้ในการเรียก folder ที่อยู่ลำดับขึ้นก่อนหน้า folder นี้



ชื่อ Drive:

: ไปยัง drive ที่เราต้องการไปยัง



เป็นต้น

จาวา | ครั้งแรก

เริ่มต้นการเขียนจาวา
ก่อนอื่น เราต้องสร้างไฟล์ .java ขึ้นมา ด้วย notepad



คำสั่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้...


public class first##ชื่อไฟล์ที่เราสร้าง## {

public static void main(String [] args) {

System.out.println("Hello...##ข้อความที่ต้องการให้ปรากฎ##");

}

}



ดาวน์โหลดไฟล์ที่นี่



เมื่อสร้างไฟล์เสร็จแล้วให้ทำการ compile ผ่าน command prompt

โดยใช้คำสั่ง
>javac ชื่อไฟล์
จะทำให้เราสามารถใช้งานไฟล์ที่เราต้องการได้