วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2550

จาวา | ครั้งที่ 3

ในตอนต้นชั่วโมง อาจารย์ได้เกริ่นถึงชนิดของข้อมูล
เช่น

bit, byte, integer, long, single, double ฯลฯ

โดยอาจารย์ได้พูดถึงว่า ทำไม เราไม่กำหนดชนิดของข้อมูลให้ใหญ่มาก ๆ เลยว่า

ถ้าข้อมูลที่เราใช้จริงเป็นแบบ integer แต่ เรากำหนดค่าแบบ long

ในช่วงแรกถ้าเราเขียนโปรแกรมระดับเล็ก ๆ จะยังไม่พบปัญหา
แต่เมื่อเราต้องเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ตัวแปรเยอะ ๆ

จาก integer สมมุติว่าใช้หน่วยความจำ 1 หน่วย
แต่เรากำหนดเป็น long ซึ่งอาจใช้หน่วยความจำ 40 หน่วย
จะทำให้ใช้หน่วยความจำในเครื่องได้ไม่คุ้มค่า

ตัวอย่างคำสั่ง

public class jjj {

public static void main(String [] args) {

System.out.println(args[0]##ระบบจะแสดงข้อมูลตัวที่ 1 ออกมา##) ;

System.out.println("score1= " + args[1])##ระบบจะแสดงข้อความ ตามด้วยข้อมูลตัวที่ 2 ออกมา## ;

System.out.println("score2= " + args[2]);

System.out.println("sum score= " + (Integer.parseInt(args[1]) ##จำทำการแปลข้อมูลตัวที่ 2 ให้กลายเป็นข้อมูลแบบตัวเลข (int)##+ Integer.parseInt(args[2])));

}

}