เงื่อนไข
เงื่อนไขต่าง ๆ ในจาวา
< น้อยกว่า
> มากกว่า
== เท่ากับ
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ
>= มากกว่าหรือเท่ากับ
!= ไม่เท่ากับ
ตัวอย่างคำสั่ง
import java.util.*;
public class if {
public static void main(String args[]) {
Scanner a = new Scanner(System.in);
float x;
System.out.println("Please input number")
x=a.nextFloat();
if ##ประกาศเงื่อนไข## (x==120)
System.out.println("Jackpot");
else ##คำสั่งนอกเหนือจากเงื่อนไข##
System.out.println("Fail");
}
}
ผลที่ได้
ถ้าเราใส่ตัวเลขที่มีค่า เท่ากับ 120 (จากตัวอย่าง)
จะมีข้อความขึ้นว่า jackpot
แต่ถ้าเราใส่เลขไม่ตรงกับ 120
จะมีข้อความขึ้นว่า fail
วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2550
จาวา | ครั้งที่ 4
การรับข้อมูลทางคีย์บอร์ด
ตัวอย่างคำสั่ง
import java.util.*; ##เรียกใช้...
public class board {
public static void main(String [] args) {
Scanner n = new Scanner(System.in); ##ประกาศตัวแปรเพื่อเก็บข้อมูลที่รับจากคีย์บอร์ด
System.out.print("score1= ");
float score1 = n.nextInt();
System.out.print("score2= ");
float score2 = n.nextInt();
System.out.print("score3= ");
float score3 = n.nextInt();
System.out.println("total score= " + ( score1 + score2 + score3 ));
System.out.println("average score= " + (( score1 + score2 + score3)/3 ));
}
}
ตัวอย่างคำสั่ง
import java.util.*; ##เรียกใช้...
public class board {
public static void main(String [] args) {
Scanner n = new Scanner(System.in); ##ประกาศตัวแปรเพื่อเก็บข้อมูลที่รับจากคีย์บอร์ด
System.out.print("score1= ");
float score1 = n.nextInt();
System.out.print("score2= ");
float score2 = n.nextInt();
System.out.print("score3= ");
float score3 = n.nextInt();
System.out.println("total score= " + ( score1 + score2 + score3 ));
System.out.println("average score= " + (( score1 + score2 + score3)/3 ));
}
}
เขียนโดย
ธนัตถ์
จาวา | ครั้งที่ 3
ในตอนต้นชั่วโมง อาจารย์ได้เกริ่นถึงชนิดของข้อมูล
เช่น
bit, byte, integer, long, single, double ฯลฯ
โดยอาจารย์ได้พูดถึงว่า ทำไม เราไม่กำหนดชนิดของข้อมูลให้ใหญ่มาก ๆ เลยว่า
ถ้าข้อมูลที่เราใช้จริงเป็นแบบ integer แต่ เรากำหนดค่าแบบ long
ในช่วงแรกถ้าเราเขียนโปรแกรมระดับเล็ก ๆ จะยังไม่พบปัญหา
แต่เมื่อเราต้องเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ตัวแปรเยอะ ๆ
จาก integer สมมุติว่าใช้หน่วยความจำ 1 หน่วย
แต่เรากำหนดเป็น long ซึ่งอาจใช้หน่วยความจำ 40 หน่วย
จะทำให้ใช้หน่วยความจำในเครื่องได้ไม่คุ้มค่า
ตัวอย่างคำสั่ง
public class jjj {
public static void main(String [] args) {
System.out.println(args[0]##ระบบจะแสดงข้อมูลตัวที่ 1 ออกมา##) ;
System.out.println("score1= " + args[1])##ระบบจะแสดงข้อความตามด้วยข้อมูลตัวที่ 2 ออกมา## ;
System.out.println("score2= " + args[2]);
System.out.println("sum score= " + (Integer.parseInt(args[1]) ##จำทำการแปลข้อมูลตัวที่ 2 ให้กลายเป็นข้อมูลแบบตัวเลข (int)##+ Integer.parseInt(args[2])));
}
}
เช่น
bit, byte, integer, long, single, double ฯลฯ
โดยอาจารย์ได้พูดถึงว่า ทำไม เราไม่กำหนดชนิดของข้อมูลให้ใหญ่มาก ๆ เลยว่า
ถ้าข้อมูลที่เราใช้จริงเป็นแบบ integer แต่ เรากำหนดค่าแบบ long
ในช่วงแรกถ้าเราเขียนโปรแกรมระดับเล็ก ๆ จะยังไม่พบปัญหา
แต่เมื่อเราต้องเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ตัวแปรเยอะ ๆ
จาก integer สมมุติว่าใช้หน่วยความจำ 1 หน่วย
แต่เรากำหนดเป็น long ซึ่งอาจใช้หน่วยความจำ 40 หน่วย
จะทำให้ใช้หน่วยความจำในเครื่องได้ไม่คุ้มค่า
ตัวอย่างคำสั่ง
public class jjj {
public static void main(String [] args) {
System.out.println(args[0]##ระบบจะแสดงข้อมูลตัวที่ 1 ออกมา##) ;
System.out.println("score1= " + args[1])##ระบบจะแสดงข้อความ
System.out.println("score2= " + args[2]);
System.out.println("sum score= " + (Integer.parseInt(args[1]) ##จำทำการแปลข้อมูลตัวที่ 2 ให้กลายเป็นข้อมูลแบบตัวเลข (int)##+ Integer.parseInt(args[2])));
}
}
เขียนโดย
ธนัตถ์
จาวา | ครั้งที่ 2
ในการเขียนโปรแกรมในสัปดาห์นี้ อาจารย์ชยการได้ให้ทดลองเขียนกันด้วยตัวเอง โดยศึกษาจากสื่อการสอนในบล็อคของอาจารย์
อาจารย์ได้ให้ชุดคำสั่งมาแต่มีช่องว่างไว้ ให้เติมชุดคำสั่งใ้ห้ถูกต้อง
public class lll {
public static void main(String [] args) {
System.out.println("Rectangle area = 1/2 * base * height");
System.out.println("Base = " + "10");
System.out.println("Heigh = " + "20");
System.out.println("Rectangle area = " + (1.0##ดูหมายเหตุ##/2 * 10 * 20));
}
}
*การคำนวนของจาวา ตัวอย่างในโจทย์จำคำนวนโดยการหาร ถ้าเราไม่ใส่ทศนิยมในการเขียนคำสั่ง จาวาจะถือว่า ไม่คิดทศนิยม และปัดทิ้ง เช่น ในตัวอย่าง 1/2 เมื่อแปลคำสั่งออกมาจะได้ 0 ถ้า 1.0/2 จะแปลคำสั่งออกมาได้ว่า 0.5
อาจารย์ได้ให้ชุดคำสั่งมาแต่มีช่องว่างไว้ ให้เติมชุดคำสั่งใ้ห้ถูกต้อง
public class lll {
public static void main(String [] args) {
System.out.println("Rectangle area = 1/2 * base * height");
System.out.println("Base = " + "10");
System.out.println("Heigh = " + "20");
System.out.println("Rectangle area = " + (1.0##ดูหมายเหตุ##/2 * 10 * 20));
}
}
*การคำนวนของจาวา ตัวอย่างในโจทย์จำคำนวนโดยการหาร ถ้าเราไม่ใส่ทศนิยมในการเขียนคำสั่ง จาวาจะถือว่า ไม่คิดทศนิยม และปัดทิ้ง เช่น ในตัวอย่าง 1/2 เมื่อแปลคำสั่งออกมาจะได้ 0 ถ้า 1.0/2 จะแปลคำสั่งออกมาได้ว่า 0.5
เขียนโดย
ธนัตถ์
จาวา | ครั้งแรก: คำสั่ง Command Prompt
คำสั่งต่าง ๆ ใน Command Prompt เบื้องต้น
>cd ชื่อ folder
: ใช้สำหรับการเข้าไปใน folder
>md ชื่อ folder ที่ต้องการสร้าง
: ใช้สำหรับการสร้าง folder
>dir
: ใช้ในการเรียกดู files และ folders ใน directory ที่เรากำลังเรียกใช้งานอยู่
(มีพารามิเตอร์อื่น ๆ เช่น >dir/w
>cd..
: ใช้ในการเรียก folder ที่อยู่ลำดับขึ้นก่อนหน้า folder นี้
ชื่อ Drive:
: ไปยัง drive ที่เราต้องการไปยัง
เป็นต้น
>cd ชื่อ folder
: ใช้สำหรับการเข้าไปใน folder
>md ชื่อ folder ที่ต้องการสร้าง
: ใช้สำหรับการสร้าง folder
>dir
: ใช้ในการเรียกดู files และ folders ใน directory ที่เรากำลังเรียกใช้งานอยู่
(มีพารามิเตอร์อื่น ๆ เช่น >dir/w
>cd..
: ใช้ในการเรียก folder ที่อยู่ลำดับขึ้นก่อนหน้า folder นี้
ชื่อ Drive:
: ไปยัง drive ที่เราต้องการไปยัง
เป็นต้น
เขียนโดย
ธนัตถ์
จาวา | ครั้งแรก
เริ่มต้นการเขียนจาวา
ก่อนอื่น เราต้องสร้างไฟล์ .java ขึ้นมา ด้วย notepad
คำสั่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้...
public class first##ชื่อไฟล์ที่เราสร้าง## {
public static void main(String [] args) {
System.out.println("Hello...##ข้อความที่ต้องการให้ปรากฎ##");
}
}
ดาวน์โหลดไฟล์ที่นี่
เมื่อสร้างไฟล์เสร็จแล้วให้ทำการ compile ผ่าน command prompt
โดยใช้คำสั่ง
>javac ชื่อไฟล์
จะทำให้เราสามารถใช้งานไฟล์ที่เราต้องการได้
ก่อนอื่น เราต้องสร้างไฟล์ .java ขึ้นมา ด้วย notepad
คำสั่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์นี้...
public class first##ชื่อไฟล์ที่เราสร้าง## {
public static void main(String [] args) {
System.out.println("Hello...##ข้อความที่ต้องการให้ปรากฎ##");
}
}
ดาวน์โหลดไฟล์ที่นี่
เมื่อสร้างไฟล์เสร็จแล้วให้ทำการ compile ผ่าน command prompt
โดยใช้คำสั่ง
>javac ชื่อไฟล์
จะทำให้เราสามารถใช้งานไฟล์ที่เราต้องการได้
เขียนโดย
ธนัตถ์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)